วันอังคารที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

การเชื่อมต่อ Wireless ระยะไกล

อ้างอิงจาก http://wiki.ubnt.com/AirOS_and_AirMax_-_FAQ
แปลตามความเข้าใจของผม+google translate

ช่องสัญญาณที่แนะนำเมื่อติดตั้ง AP บน Tower
 
4 AP (ABAB) ตัวที่หันหลังชนกัน ใช้ CH เดียวกันครับ

 


3 AP (ABC) ใช้ต่าง CH กันเลย


2 AP (AA) เหมือน 4 AP ครับ หันหลังชนกัน CH เดียวกัน



ที่ตั้งแบบนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการรบกวนจากช่องสัญญาณของ AP บน Tower เดียวกัน

ศัพท์ทาง Network เค้าจะเรียกว่า channel overlap
ดูจากรูปนะครับ
รูปแรก 2.4 GHz


รูปสอง 2.4 GHz และ 5 GHz


รูปสาม ช่องสัญญาณกับ Channel Width


สำหรับ 2.4 GHz ในเมื่องไทย ที่ Channel Width 20 MHz จะมีช่องใช้งาน 13 ช่อง ช่องที่ไม่ overlap คือ 1,5,9,13
แต่อุปกรณ์บางประเภท ช่องที่เกิน 11 จะเชื่อมต่อไม่ได้ ตั้ง 3 ช่องจะดีกว่าครับ เพราะผมก็เคยตั้งช่อง 13 แล้วอุปกรณ์บางอย่างคอนเนตไม่ได้

Channel Width หรือความกว้างของของช่องสัญญาณ (ก๊อปจาก google translate มาให้ดูเลย)
ระยะทางสูงสุดต่อความกว้างช่องทาง (เมื่อช่วงยาวควรจะใช้โหมด?)
AirOS สนับสนุนค่าหมดเวลาสูงสุด ACK (หรือระยะทาง) สำหรับความกว้างของแต่ละช่อง ถ้าคุณมีเกินค่านี้มันอาจจะจำเป็นต้องใช้ "ช่วง PTP 

ลอง​​โหมด" (หรือ "PTP ไม่มีโหมด ACK" ในรุ่นเก่าของ AirOS) ต่อไปนี้แสดงระยะทางสูงสุดที่สนับสนุนสำหรับแบนด์วิดธ์ในแต่ละช่อง

40MHz: 16.5 ไมล์ (26.5 กิโลเมตร)
20MHz: 35.6 ไมล์ (57.3 กิโลเมตร)
10MHz: 72.3 ไมล์ (116 กิโลเมตร)
5MHz: 144.7 กิโลเมตร (232.9 กิโลเมตร) 
 
Long Range PtP Link Mode: จะใช้เมื่อระยะ Distance: เกิน 16.9 หรือ 27.2 กิโลเมตร (ตาม wiki บอก 26.5 กม. ก็ประมาณนี้ครับ)

ถ้าหวังผลแบนด์วิดสูงส่วนใหญ่จะตั้ง 40 MHz ครับ พวก AP ที่เป็น MiMo 2x2 จะได้ตามนี้
-60 dBm MiMo 2x2 = 300 Mbps
-62 dBm MiMo 2x2 = 270 Mbps
-65 dBm MiMo 2x2 = 240 Mbps
-70 dBm MiMo 2x2 = 180 Mbps 
-73 dBm MiMo 2x2 = 120 Mbps
-76 dBm MiMo 2x2 =   90 Mbps
-79 dBm MiMo 2x2 =   60 Mbps
-85 dBm MiMo 2x2 =   30 Mbps
-63 dBm MiMo 1x1 = 150 Mbps
-65 dBm MiMo 1x1 = 135 Mbps
-68 dBm MiMo 1x1 = 120 Mbps
-73 dBm MiMo 1x1 =   90 Mbps
-76 dBm MiMo 1x1 =   60 Mbps
-79 dBm MiMo 1x1 =   45 Mbps
-82 dBm MiMo 1x1 =   30 Mbps
-88 dBm MiMo 1x1 =   15 Mbps


ถ้าเป็น Channel Width 20 MHz จะหาร 2 ครับ

วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

Mikrotik Block IDM

/ip firewall layer7-protocol
add comment="" name="Extension \" .mpg \"" regexp="\\.(mpg)"
add comment="" name="Extension \" .wav \"" regexp="\\.(wav)"
add comment="" name="Extension \" .mpg \"" regexp="\\.(mpeg)"
add comment="" name="Extension \" .dat \"" regexp="\\.(dat)"
add comment="" name="Extension \" .mp3 \"" regexp="\\.(mp3)"
add comment="" name="Extension \" .mp4 \"" regexp="\\.(mp4)"
add comment="" name="Extension \" .exe \"" regexp="\\.(exe)"
add comment="" name="Extension \" .iso \"" regexp="\\.(iso)"
add comment="" name="Extension \" .rar \"" regexp="\\.(rar)"
add comment="" name="Extension \" .zip \"" regexp="\\.(zip)"
add comment="" name="Extension \" .7z \"" regexp="\\.(7z)"
add comment="" name="Extension \" .flv \"" regexp="\\.(flv)"
add comment="" name="Extension \" .avi \"" regexp="\\.(avi)"
add comment="" name="Extension \" .3gp \"" regexp="\\.(3gp)"
add comment="" name="Extension \" .msi \"" regexp="\\.(msi)"
add comment="" name="Extension \" .kmv \"" regexp="\\.(kmv)"
add comment="" name="Extension \" .wma \"" regexp="\\.(wma)"
add comment="" name="Extension \" .mov \"" regexp="\\.(mov)"
add comment="" name="Extension \" .wmv \"" regexp="\\.(wmv)"

/ip firewall mangle
add action=mark-connection chain=prerouting comment="mpg DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .mpg \"" new-connection-mark="mpg DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="mpg DOWNS" disabled=no new-packet-mark=mpg passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="wav DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .wav \"" new-connection-mark="wav DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="wav DOWNS" disabled=no new-packet-mark=wav passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="mpeg DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .mpeg \"" new-connection-mark="mpeg DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="mpeg DOWNS" disabled=no new-packet-mark=mpeg passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="dat DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .dat \"" new-connection-mark="dat DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="dat DOWNS" disabled=no new-packet-mark=dat passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="mp3 DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .mp3 \"" new-connection-mark="mp3 DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="mp3 DOWNS" disabled=no new-packet-mark=mp3 passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="mp4 DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .mp4 \"" new-connection-mark="mp4 DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="mp4 DOWNS" disabled=no new-packet-mark=mp4 passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="exe DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .exe \"" new-connection-mark="exe DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="exe DOWNS" disabled=no new-packet-mark=exe passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="iso DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .iso \"" new-connection-mark="iso DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="iso DOWNS" disabled=no new-packet-mark=iso passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="rar DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .rar \"" new-connection-mark="rar DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="rar DOWNS" disabled=no new-packet-mark=rar passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="zip DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .zip \"" new-connection-mark="zip DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="zip DOWNS" disabled=no new-packet-mark=zip passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="7z DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .7z \"" new-connection-mark="7z DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="7z DOWNS" disabled=no new-packet-mark=7z passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="flv DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .flv \"" new-connection-mark="flv DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="flv DOWNS" disabled=no new-packet-mark=flv passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="avi DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .avi \"" new-connection-mark="avi DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="avi DOWNS" disabled=no new-packet-mark=avi passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="3gp DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .3gp \"" new-connection-mark="3gp DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="3gp DOWNS" disabled=no new-packet-mark=3gp passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="msi DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .msi \"" new-connection-mark="msi DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="msi DOWNS" disabled=no new-packet-mark=msi passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="kmv DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .kmv \"" new-connection-mark="kmv DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="kmv DOWNS" disabled=no new-packet-mark=kmv passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="m4a DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .m4a \"" new-connection-mark="m4a DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="m4a DOWNS" disabled=no new-packet-mark=m4a passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="wma DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .wma \"" new-connection-mark="wma DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="wma DOWNS" disabled=no new-packet-mark=wma passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="mov DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .mov \"" new-connection-mark="mov DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="mov DOWNS" disabled=no new-packet-mark=mov passthrough=no protocol=tcp

add action=mark-connection chain=prerouting comment="wmv DOWNS" disabled=no layer7-protocol="Extension \" .wmv \"" new-connection-mark="wmv DOWNS" passthrough=yes protocol=tcp
add action=mark-packet chain=postrouting comment="" connection-mark="wmv DOWNS" disabled=no new-packet-mark=wmv passthrough=no protocol=tcp

/queue simple
add burst-limit=0/0 burst-threshold=0/0 burst-time=0s/0s comment="" direction=both disabled=no dst-address=0.0.0.0/0 interface=all limit-at=256k/256k max-limit=256k/256k name="all download limit" packet-marks=mpg,dat,mp3,mp4,exe,iso,rar,zip,7z,flv,avi,3gp,msi,kmv parent=none priority=8 queue=default-small/default-small total-queue=default-small

วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

Mirkotik 2X WAN LoadBalancing PCC Method

http://www.adeelkml.tk/
http://wiki.mikrotik.com/wiki/Manual:PCC

/ip address
add address=192.168.0.1/24 network=192.168.0.0 broadcast=192.168.0.255 interface=Local
add address=192.168.1.2/24 network=192.168.1.0 broadcast=192.168.1.255 interface=WAN1
add address=192.168.2.2/24 network=192.168.2.0 broadcast=192.168.2.255 interface=WAN2

/ip dns set allow-remote-requests=yes cache-max-ttl=1w cache-size=5000KiB max-udp-packet-size=512 servers=221.132.112.8,8.8.8.8

/ip firewall mangle
add chain=input in-interface=WAN1 action=mark-connection new-connection-mark=WAN1_conn
add chain=input in-interface=WAN2 action=mark-connection new-connection-mark=WAN2_conn

add chain=output connection-mark=WAN1_conn action=mark-routing new-routing-mark=to_WAN1
add chain=output connection-mark=WAN2_conn action=mark-routing new-routing-mark=to_WAN2

add chain=prerouting dst-address=192.168.1.0/24 action=accept in-interface=Local
add chain=prerouting dst-address=192.168.2.0/24 action=accept in-interface=Local

add chain=prerouting dst-address-type=!local in-interface=Local per-connection-classifier=both-addresses-and-ports:2/0 action=mark-connection new-connection-mark=WAN1_conn passthrough=yes
add chain=prerouting dst-address-type=!local in-interface=Local per-connection-classifier=both-addresses-and-ports:2/1 action=mark-connection new-connection-mark=WAN2_conn passthrough=yes

add chain=prerouting connection-mark=WAN1_conn in-interface=Local action=mark-routing new-routing-mark=to_WAN1
add chain=prerouting connection-mark=WAN2_conn in-interface=Local action=mark-routing new-routing-mark=to_WAN2

/ip route
add dst-address=0.0.0.0/0 gateway=192.168.1.1 routing-mark=to_WAN1 check-gateway=ping
add dst-address=0.0.0.0/0 gateway=192.168.2.1 routing-mark=to_WAN2 check-gateway=ping

add dst-address=0.0.0.0/0 gateway=192.168.1.1 distance=1 check-gateway=ping
add dst-address=0.0.0.0/0 gateway=192.168.2.1 distance=2 check-gateway=ping

/ip firewall nat
add chain=srcnat out-interface=WAN1 action=masquerade
add chain=srcnat out-interface=WAN2 action=masquerade

วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556

มาอธิบาย Squid.conf

มาอธิบาย Squid.conf
1. การจำกัดเวลาลูกข่ายใช้อินเตอร์เน็ต
acl acl_net src 172.17.8.0/24    // วงที่ออกเน็ตได้
acl acl_client src 172.17.8.10     // IP ที่ต้องการห้ามออกเน็ตเป็นเวลา
acl acl_time time MTWHF 17:00-23:59
acl acl_time2 time MTWHF 0:00-7:00
http_access deny acl_client acl_time
http_access deny acl_client acl_time2
http_access allow acl_net
(M จันทร์ T อังคาร W พุธ H พฤหัส F ศุกร์ A เสาร์  S อาทิตย์)

2. การบล็อค MSN
คำตอบ ให้เพิ่ม เข้าไปใน squid.conf ส่วนของ ACCESS CONTROL
acl chatMSN req_mime_type -i ^application/x-msn-messenger$
http_reply_access deny chatMSN
acl msn1 req_mime_type -i ^application/x-msn-messenger$      //รุ่น 6.3
acl msn2 url_regex -i gateway.dll     // รุ่น 7.X +
http_access deny msn1
http_access deny msn2
หรือถ้าต้องการblock เป็นเวลา สามารถกำหนดดังนี้
acl msn1 rep_mime_type -i ^application/x-msn-messenger$
acl msn2 url_regex -i gateway.dll
acl morning time M T W H F 9:00-12:00
acl lunch time M T W H F 13:00-17:00
http_access deny msn1 morning
http_access deny msn1 lunch
http_access deny msn2 morning
http_access deny msn2 lunch

3. Block site (Domain)
acl block_url url_regex ‘etc/squid/blacklists’   //สร้างไฟล์ blacklist.txt
http_access deny block_url
(พิมพ์ชื่อ Domain ที่ต้องการบล๊อคส่ในแฟ้มที่สร้าง)

4. Block Key word
acl keyword url_regex -i messenger hi5 chat
http_access deny keyword

5. Block  MP3  Download
acl download urlpath_regex -i \.mp4$ \.wav$ \.iso$
http_access deny download

6. การจำกัด  bandwidth    Download
acl blockfile url_regex -i ftp .exe .mp3 .vqf .tar.gz .gz .rpm .zip .rar .avi .mpeg .mpe .mpg .qt .ram
.rm .iso  
acl all src 0.0.0.0/0.0.0.0
acl manager proto cache_object
acl localhost src 127.0.0.1/255.255.255.255
acl lan src 192.168.1.0/255.255.255.0 #กลุ่ม IP LAN ภายใน
http_access allow lanhttp_access deny all
delay_pools 1
delay_class 1 1
delay_parameters 1 2500/2500  # จำกัดไม่เกิน 2.5 kbyte หากต้องการไม่เกิน 5.0 kbyte ก็เปลี่ยนเป็น 5000/5000 ไม่เกิน จะจำกัดเท่าไหร่ก็เปลี่ยนเอาเลยครับ
delay_access 1 allow blockfile

7. การ download จาก ตัวอักษรหรือคำจาก website 
acl magic_words url_regx -i .exe
delay_pools 1
delay_class 1 1
delay_parameters 1 4000/4000
delay_access 1 allow magic_words
(magic_world เป็นตัวแปลบออกว่าถ้ามีนามสกุล .exe (ส่วน -i คือ  ตัวบอกว่าเป็น case-insensitive) ให้ download มาด้วยความเร็วไม่เกิน 32 Kbit/sec ก็ประมาณ 4 Kbyte/sec )

8. กำหนดให้ขนาด bandwidth ให้กับUser  ภายใน network
acl all src 0.0.0.0/0.0.0.0
delay_pool_count 1
delay_class 1 2
delay_parameters 1 12500/12500 2500/2500
delay_access 1 allow all
( อธิบายว่า มี Lease Line ขนาด 128K และต้องการจะเหลือไว้สักนิด สำหรับ SMTP server ซึ่งเป็น IP จริงไม่ได้ต่อผ่านกับ gateway ตัวนี้ และให้ใช้สำหรับ NAT ภายใน องค์กร 100Kbit/sec เพื่อให้ทุกคน share กันใช้เท่าๆกัน และต้องการจะให้แต่ละคนใช้ Bandwidth ได้ไม่เกิน 2.5 Kbyte/sec )

9 กำหนดขนาด bandwidth ให้กับ group network[/b]
acl a_ll src 0.0.0.0/0.0.0.0
delay_class 1 3
delay_parameters 1 56000/56000 18750/18750 500/500
delay_access 1 allow all
(อธิบายได้ดังนี้   มี Lease Line ขนาด 512K และต้องการเหลือ Bandwidth สำหรับ SMTP ไว้ 8Kbyte/sec ใช้ภายใน network ไม่เกิน 448 Kbit/sec และแบ่งให้แต่ละ class ไม่เกิน 150 Kbit/sec และให้แต่ละ IP ไม่เกิน 4 Kbit/sec )

10. การจำกัดขนาด bandwidth และไม่จำกัดขนาด bandwidth
acl magic_words1 url_regex -i 202.29.14.1
#กำหนด acl กลุ่มที่มีสิทธิ์ทุกอย่าง acl magic_words2 url_regex -i ftp .exe .mp3 .vqf .tar.gz .gz .rpm .zip .rar .avi .mpeg .mpe .mpg .qt .ram .rm .iso .raw .wav .mov #กำหนด acl กลุ่มที่ต้องควบคุม traffic คือไฟล์บางประเภทที่ใหญ่ ๆ
การกำหนดค่า Squid(Delay Pool)
# สำหรับ delay pool ที่คุณต้องการ –enable-delay-pools
delay_pools 2 #กำหนดให้มี 2 pool ที่ต้องใช้
#สมมุติมี link ขนาด 2Mbits ซึ่ง 2 mbits == 256 kbytes ต่อวินาที เราจะจำกัดให้ใช้ได้ไม่เกิน 5 KB/s ต่อโหนด
delay_class 1 2 #กำหนดให้ pool ที่ 1 เป็น class 2 ที่ถูกกำหนดค่าไว้ใน magic_word2 แบบจำกัด
delay_parameters 1 256000/256000 5000/256000
delay_access 1 allow magic_words2 #กลุ่มที่ดาวน์โหนดไฟล์ต่าง ๆ ที่กำนดไว้
delay_access 1 allow rinet #กลุ่มที่มี ip ต้นทางเป็นเครือข่ายภายใน
# -1/-1 หมายความว่าไม่มีการจำกัดขนาดของ traffic.
delay_class 2 2 #กำหนดให้ pool ที่ 2 เป็น class 2 ที่ถูกกำหนดค่าไว้ใน magic_word1 แบบไม่จำกัด
delay_parameters 2 -1/-1 -1/-1
delay_access 2 allow magic_words1
ตัวอย่าง
acl download url_regex -i ftp .rar .wma .exe .mp3 .vqf .tar.gz .gz .rpm .zip  .avi .mpeg .mpe .mpg .qt .ram .rm .iso .raw .wav .mov
delay_pools 2
acl day time 09:00-15:59
acl day2 time 16:00-09:00
delay_class 1 2
delay_parameters 1 10000/20000 10000/20000
delay_access 1 allow download day day2  
delay_access 1 deny all
delay_class 2 2
delay_parameters 2 -1/-1 -1/-1
delay_access 2 allow  localnet localhost   !all
delay_access 2 deny !all

11. การบล็อค Port และ เลข  IP
acl porttest port 5050 5222 5223
acl block_port port 5050 5222 5223
acl test src 172.27.162.43
http_access deny block_port test
http_access allow all
acl block_port port 5050 5222 5223
acl test src 172.27.162.43
http_access deny block_port test
http_access allow all
acl blockip src “/etc/squid/block.ip”   //สร้างแฟ้ม block.ip ใส่เลข IP เข้าไป

12. Block skype  Chat  
acl skype_user src “/etc/squid/user-skype”  //ใส่เลข ip เครื่องที่อนุญาตให้ใช้ได้
acl numeric_IPs url_regex ^[0-9]+.[0-9]+.[0-9]+.[0-9]+:443
acl Skype_UA browser ^skype^
http_access deny skype_user numeric_IPs
http_reply_access deny skype_user numeric_IPs
http_access deny skype_user Skype_UA

วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556

ช่วยอธิบายความแตกต่างของเวลา แต่ละอันว่าต่างกันอย่างไรครับ อยู่ใน Hotspot User Profile


ตอบในกระทู้หน่อยแล้วกัน

1. Session Timeout คือเวลาที่ใช้กำหนดว่าให้เชื่อมต่อได้นานที่สุดเท่าไร ถ้าถึงกำหนดแล้วมันจะเตะออก เช่น ตั้งให้หลุดทุก ๆ 2 ชม.

2. Idle Timeout คือเวลาที่กำหนดให้เตะออกเมื่อเชื่อมต่ออยู่แต่ไม่ได้ทำอะไรเลย เว็บก็ไม่เข้า เกมก็ไม่เล่น บิตก็ไม่โหลด

3. Keepalive Timeout เมื่อกับ Idle Timeout แต่ต่างกันที่ Idle Timeout ยังติดเครื่องนั้นได้อยู่ แต่ Keepalive Timeout ติดต่อไม่ได้เลย เช่น ปิดเครื่องแล้ว สายหลุด กำลัง restart เป็นต้น

4. Status Autorefresh ก็ตั้งให้ refresh หน้า status ที่เวลาเท่าไร เช่น เราตั้ง 30 วิ ก็จะ  refresh หน้า status ทุก ๆ 30 วิ เป็นต้น

วันเสาร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2556

Richtech ทำ 5 สเปค +Ghost All Mainboard ได้99%

Richtech ทำ 5 สเปค ในแบบของที่ร้านผม เหมาะสำหรับคนหัดทำใหม่จะได้ไม่เสียเวลาในการค้นหาทำตามผมได้เลยสำหรับเพื่อนๆที่มีหลาย spec 
รุ่นเมนบอร์ดในร้าน M2N 68 AM PLUS, M2N , M2N68 ,M4A785 TD V EVO,880GM LE

เตรียม
- Richtech V3.1 Build0359(ผมใช้เวอร์ชั่นนี้สะดวกดี)
- OS ที่จะลง ผมใช้ skz win 2003 server r2
- ควรจะมีระบบแลนเป็นกิกะบิท 
- Harddisk 1 ตัว (สำหรับทำMaster) **ใช้โปรแกรม Ghost All Mainboard***ผ่าน 99% ตามไปโหลดได้ที่http://www.mediafire.com/?zydnz2ifwtt
- เครื่องลูก ต้นแบบ 5 สเปค ตั้งให้บูท ผ่านแลนได้ จดค่า mac เก็บไว้

เครื่อง Server 
- ติดตั้ง Richtech Server ที่เครื่องแม่ 
- เข้า manager richtech
- เข้า Disk management สร้าง image ใหม่ กำหนดขนาดเพื่อใส่ตัว OS 15GB, ตามแต่ต้องการ แนะนำ 15-20GB
- กำหนด Hardware Configuration เรียกที่เรียกกันว่า spec เช่น 001,002,003 หรือเพื่อเข้าใจง่ายๆ M2N 68 AM PLUS, M2N , M2N68 
- Add New Workstation ทำทั้ง 5 สเปค
Basic กำหนด PC-01 / MAC /IP / Sub / Boot IP / GW/ Config ให้ตรงกับที่เราจะกำหนด spec /WksPath หรือที่เรียกว่า Swap กำหนดในไดร์ฟที่มีอยู่จริง
Disk เข้า Disk Edit เพิ่มด้วยการย้ายช่องขวามาซ้ายตัว OS ต้องอยู่ด้านบนสุดครับ
server กำหนด First Server ไอพีเครื่องแม่
Super Setup กำหนด Client Cache เครื่องลูกมีแรม 2GB ตั้งไว้สัก 512 ไม่มีจอฟ้าสักเกม
ถ้าใช้การ์ดจออนบอร์ด แนะนำ 64 พอ

เครื่อง Client สเปคแรก 
- ที่ server กำหนด Super User ให้กับเครื่องที่จะทำ ไอคอนสีเขียวจะกลายเป็นแดง
- ถ้ามี webcam เอาออกก่อนเลย ถ้าไม่อยากเสียใจ เสียเวลา
- เริ่ม โกส XP หรือลงจากแผ่น xp ที่เตรียมไว้ ลงฮาร์ดดิสเครื่องลูก แล้วลงให้เสร็จจนถึงหน้าพร้อมใช้ ไดร์ฟเวอร์ครบ 
- ตั้งทุกเครื่อง ComputerName / Group / IP / Sub / GW / DNS ให้ตรงกับที่กำหนดใน server
- local area connection uninstall "Qos Packet Scheduler" (เพิ่มความเร็วในการเปิดOS)
- ติดตั้ง Richtech Client
- จะมี InstClt ขึ้นมาในขั้นตอนสุดท้าย เพื่อกำหนดการ์ดแลนในเครื่อง และ IP ของ server ก็กรอกไป ไม่ต้องเลือกใน NIC information แล้วรีเครื่อง 1 รอบ
- ถ้ามี แจ้งค้นพบ Driver lan ใหม่ก็อัพเดทให้เรียบร้อยแล้ว ให้ไปตั้ง IP ใหม่ให้ตรงกับเครื่อง แล้ว InstClt กำหนด IP Server อีกครั้ง แล้วรีเครื่อง 1 รอบ (ถ้าไม่มีข้ามข้อนี้)
- เข้า Computer Management\Storage\Disk Management จะพบฮาร์ดดิสใหม่ ให้กำหนด volume + format ให้เรียบร้อย แล้วตั้ง Mark Partition as Active ด้วย
- เข้า copyHW กำหนด spec ของตัวนี้ก่อนให้ตรงกับที่ตั้งไว้ เช่น 001 
- เข้า Upload กำหนด Source / Detination ไดร์ฟของดิสเลสที่เพิ่มเข้ามา / Config ***ยังไม่ต้องกรอก ***/ ไม่ติ๊ก Only Upload new file แล้วกด Start (รอสักพัก)
- กำหนด Source / Detination ไดร์ฟของดิสเลสที่เพิ่มเข้ามา / Config **สเปคของเครื่องนี้**(เช่น001) / ติ๊ก Only Upload new file แล้ว Start
-***ใช้โปรแกรม Ghost All Mainboard*** ผมลองมาหลายวิธีแล้วอันนี้ชัวสุดวิธีใช้กด
ดเบิ้ลคิ๊ก ที่โปรแกรมแล้วกดปิดจบ
- ปิดเครื่องได้ ถอด Hard Disk ออก นำไปใส่เครื่อง Client สเปคสอง
- ที่ server กดปิดให้เป็น normal ให้กับเครื่องที่ตั้ง super ไว้ ไอคอนสีแดงจะกลายเป็นเขียว

เครื่อง Client สเปคสอง
- ที่ server กำหนด Super User ให้กับเครื่องที่จะทำ ไอคอนสีเขียวจะกลายเป็นสีแดง
- ถ้ามี webcam เอาออกก่อนเลย ถ้าไม่อยากเสียใจ เสียเวลา
- เริ่ม นำ Hard Disk จากเครื่องแรกมาต่อ เปิดเครื่องลง ไดร์ฟเวอร์ให้ครบ ถ้าไม่มีไดร์เวอร์ใหม่เพิ่มให้ทำขั้นตอนต่อไปเลยครับ
- ตั้งทุกเครื่อง ComputerName / Group / IP / Sub / GW / DNS ให้ตรงกับที่กำหนดใน server
- local area connection uninstall "Qos Packet Scheduler"
- ติดตั้ง Richtech Client
- จะมี InstClt ขึ้นมาในขั้นตอนสุดท้าย เพื่อกำหนดการ์ดแลนในเครื่อง และ IP ของ server ก็กรอกไป ไม่ต้องเลือกใน NIC information แล้วรีเครื่อง 1 รอบ
- ถ้ามี แจ้งค้นพบ Driver lan ใหม่ก็อัพเดทให้เรียบร้อยแล้ว ให้ไปตั้ง IP ใหม่ให้ตรงกับเครื่อง แล้ว InstClt กำหนด IP Server อีกครั้ง แล้วรีเครื่อง 1 รอบ (ถ้าไม่มีข้ามข้อนี้)
- เข้า copyHW กำหนด spec ของตัวนี้ก่อนให้ตรงกับที่ตั้งไว้
- เข้า Upload กำหนด Source / Detination ไดร์ฟของดิสเลสที่เพิ่มเข้ามา / Config สเปคของเครื่องนี้ / ติ๊ก Only Upload new file แล้ว Start (รอสักพัก)
- ปิดเครื่องได้
- ที่ server กดปิดให้เป็น normal ให้กับเครื่องที่ตั้ง super ไว้ ไอคอนสีแดงจะกลายเป็นเขียว
ทำเหมือนเดิมจนครบทุกสเปค
เปิด super ให้กับ client ตัวนึงเพื่อไปตั้งระบบต่อไป

ส่วนไดร์ฟใส่เกม ให้ไปสร้าง image ใหม่ที่เซิฟเวอร์กำหนดขนาดตามใจชอบ 
- แล้ว add Disk ใส่แต่ละ client ทำที่เครื่อง Server
- แล้วกำหนด super ติ๊กถูก Disk ที่จะแก้ไขได้ หรือจะติ๊กทั้งหมดก็ได้ แนะนำ Add เฉพาะของไดร์วินโดอันเดียวก่อนครับ
- แล้วจัดการที่เครื่องไคเอ็น format drive ลงเกมอะไรได้เลย
**ก่อนลงเกมส์แนะนำให้ทำ Res.Manager ก่อนนะครับจะได้กดย้อนกลับมาได้เวลาทำผิดพลาดจะได้ไม่เสียเวลาแบบผม 555 กว่าจะได้ปาไม 4วัน เลยเอามาแนะนำเพื่อนๆๆครับ
ข้อความทั้งหมดนี้ผมเอามาดัดแปลงเป็นแบบของที่ร้านจากกระทู้ของเพื่อนที่โพสไว้นะครับขอขอบคุณมากสำหรับทุกความรู้จากเว็บนี้ครับมีประโยชน์มากๆ

Richtech ทำ 5 สเปค +Ghost All Mainboard ได้99%

วันพฤหัสบดีที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2556

วิธีการตั้งค่าอุปกรณ์ Ubiquiti แบบ Point To Point ในโหมด Access Point >> Station

Point To Point Mode
Firmware Version :  5.5 รองรับอุปกรณ์ : Ubiquiti รุ่น AirMax 
Ubiquiti Rocket M5
Ubiquiti Rocket M2
Ubiquiti PowerBridge M5
Ubiquiti PicoStation M2HP
Ubiquiti NanoStation M5
Ubiquiti NanoStation M2
Ubiquiti NanoStation Loco M2
Ubiquiti NanoBridge M5
Ubiquiti Bullet M5HP
 
วิธีการติดตั้งอุปกรณ์
 
1.ตั้งค่า IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับตั้งค่า ให้อยู่ในวงแลนเดียวกับอุปกรณ์ Access Point โดย Access Point ค่า IP Address คือ 192.168.1.20 การตั้งค่า IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ตามเอกสาร วิธีการตั้งค่า IP Address คอมพิวเตอร์ ครับ
 
2. เชื่อมต่ออุปกรณ์ตามรูปครับ
 
Point To Point Mode
 
3.ทดสอบการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ เลือกเมนู Start >> run
Point To Point Mode
 
4. พิมพ์คำสั่ง cmd และกดปุ่ม Enter
Point To Point Mode
 
5. พิมพ์คำสั่ง ping 192.168.1.20  (ping เว้นวรรค192.168.1.20)และกดปุ่ม Enter ถ้าไม่ผิดพลาดจะขึ้นข้อความตามรูปภาพครับ
Point To Point Mode
 
วิธีการตั้งค่าอุปกรณ์ (ฝั่งต้นทาง)
 
1. เปิด Internet Explorer หรือ Chome พิมพ์ 192.168.1.20 บน URL และกดปุ่ม Enter
Point To Point Mode
 
2. กรอก Username และ Password ดังนี้
Point To Point Mode
Username : ubnt
Password : ubnt
Country : United State
Language : English
เลือก I agree to these terms of use และกดปุ่ม [Login]
 
3. เลือก Tab >> Wireless  และกำหนดค่าดังนี้
Point To Point Mode
 
Basic Wireless Settings
      Wireless Mode : เลือก Access Point
      WDS(Transparent Bridge Mode) : เลือกเครื่องหมายถูก
      SSID : ชื่อสัญญาณ Wireless ตั้งชื่ออะไรก็ได้ครับ ตัวอย่างใช้ชื่อ Taladwireless
      Channel Width : เลือกค่าใดก็ได้ ซึ่งค่าแต่ละค่าจะมีผลต่อควาแรงและความเร็วของสัญญาณ (ตัวอย่างนี้เลือก 40MHz )
 
Wireless Security  ถ้าต้องการตั้งค่า Password ใช้งานให้กำหนดค่าดังนี้ครับ
      Security : เลือก WPA2 (แนะนำให้เลือกอันนี้ครับ)
      WPA Preshared Key : ใส่รหัสผ่านตามต้องการครับ
 
3.1 กดปุ่ม [Change] เพื่อบันทึกการตั้งค่า
3.2 กดปุ่ม [Apply] เพื่อยันยันการบันทึกการตั้งค่า
Point To Point Mode
 
4. เลือก Tab >> Network และกำหนดค่าดังนี้
Point To Point Mode
Management Network Setting
      Management IP Address : เลือก Static
      IP Address :   192.168.1.2
      **การตั้งค่า IP Address ควรตรวจสอบก่อนว่า IP ที่ต้องการตั้งไปซ้ำกับ IP ของอุปกรณ์อื่นหรือไม่ และไม่ควรตั้ง IP Address อยู่ในช่วงที่ Router  แจก IP Address  เช่น Router แจก IP ช่วง 192.168.1.50 ถึง 192.168.1.100  ช่วง IP Address นี้ คือ IP ที่ไม่สามารถตั้งให้กับ Access Point ได้
      Subnetmask : 255.255.255.0
      Gateway IP : 192.168.1.1
      **Gateway คือ ทางออก Internet ผมใส่ IP  ของ Modem Router  ลงไปเลยครับ
 
4.1 กดปุ่ม [Change] เพื่อบันทึกการตั้งค่า
4.2 กดปุ่ม [Apply] เพื่อยันยันการบันทึกการตั้งค่า
Point To Point Mode
 
5.เลือก Tab >> Ubiquiti Logo เลือกเครื่องหมายถูกช่อง airMAX Enable เพื่อใช้งานฟังก์ชั่น airMAX
Point To Point Mode
 
วิธีการตั้งค่าอุปกรณ์ (ฝั่งปลายทาง)
 
1. เปิด Internet Explorer หรือ Chome พิมพ์ 192.168.1.20 บน URL และกดปุ่ม Enter
Point To Point Mode
 
2. กรอก Username และ Password ดังนี้
Point To Point Mode
      Username : ubnt
      Password : ubnt
      Country : United State
      Language : English
      เลือก I agree to these terms of use และกดปุ่ม [Login]
 
3. เลือก Tab >> Wireless  และกำหนดค่าดังนี้
Point To Point Mode
 
Basic Wireless Settings
      Wireless Mode : เลือก Station
      WDS(Transparent Bridge Mode) : เลือกเครื่องหมายถูก
      SSID : กดปุ่ม [Selected] เพื่อเลือกสัญญาณที่ต้องการเชื่อมต่อ
 
Point To Point Mode
เลือกสัญญาณที่ต้องการเชื่อมต่อและกดปุ่ม [Lock AP]
หลังจากเลือกชื่อสัญญาณไวร์เลสที่ต้องการ ช่อง SSID และ Lock To AP MAC จะแสดงค่าโดยอัตโนมัติครับ
 
Point To Point Mode
      Channel Width : เลือกค่าใดก็ได้ ซึ่งค่าแต่ละค่าจะมีผลต่อควาแรงและความเร็วของสัญญาณ (ตัวอย่างนี้เลือก 40MHz )
 
Wireless Security  ถ้าต้องการตั้งค่า Password ใช้งานให้กำหนดค่าดังนี้
      Security : เลือก WPA2 (แนะนำให้เลือกอันนี้ครับ)
      WPA Preshared Key : ใส่รหัสผ่านตามต้องการครับ
 
3.1 กดปุ่ม [Change] เพื่อบันทึกการตั้งค่า
3.2 กดปุ่ม [Apply] เพื่อยันยันการบันทึกการตั้งค่า
Point To Point Mode
 
4. เลือก Tab >> Network และกำหนดค่าดังนี้
Point To Point Mode
 
Management Network Setting
      Management IP Address : เลือก Static
      IP Address :   192.168.1.3
      **การตั้งค่า IP Address ควรตรวจสอบก่อนว่า IP ที่ต้องการตั้งไปซ้ำกับ IP ของอุปกรณ์อื่นหรือไม่ และไม่ควรตั้ง IP Address อยู่ในช่วงที่ Router  แจก IP Address  เช่น Router แจก IP ช่วง 192.168.1.50 ถึง 192.168.1.100  ช่วง IP Address นี้ คือ IP ที่ไม่สามารถตั้งให้กับ Access Point ได้
      Subnetmask : 255.255.255.0
      Gateway IP : 192.168.1.1
      **Gateway คือ ทางออก Internet ผมใส่ IP  ของ Modem Router  ลงไปเลยครับ
 
4.1 กดปุ่ม [Change] เพื่อบันทึกการตั้งค่า
4.2 กดปุ่ม [Apply] เพื่อยันยันการบันทึกการตั้งค่า
Point To Point Mode
 
5. เลือก Tab >> Ubiquiti Logo และกำหนดค่าดังนี้
Point To Point Mode
      airMAX Priority :  เลือก None
เนื่องจากเป็นการใช้งานแบบ Point To Point ซึ่งถ้าเป็นการใช้งานแบบ Point To Multi Point ต้องกำหนดค่า Priority ให้กับ Client แต่ละตัว
 
ตรวจสอบการเชื่อมต่ออุปกรณ์ระหว่างอุปกรณ์ต้นทางและอุปกรณ์ปลายทาง
หลังจาก Config อุปกรณ์ฝั่งปลายทางเรียบร้อยแล้ว มาดูกันว่า Config ถูกต้องหรือไม่ครับ **ไม่ต้องดึงสายแลนออกนะครับ
 
อุปกรณ์ฝั่งปลายทาง
 
1. เลือก Tab >> Main ถ้าการตั้งค่าอุปกรณ์ไม่ผิดพลาดจะแสดงค่าตามรูปภาพครับ
Point To Point Mode
 
จุดตรวจสอบมีดังนี้
 
Wireless Mode : Station WDS
กราฟแสดงสถานะและรายละเอียดการเชื่อมต่อ : โดยค่าแต่ละค่ามีความหมายดังนี้
  • Signal Strength  คือ ค่าความแรงของสัญญาณที่ฝั่งปลายทางได้รับ ค่านี้ยิ่งมากยิ่งดีครับ (ค่าต้องเข้าใกล้ 0 )
  • Horizontal / Vertical  คือ ค่าผลการติดตั้งอุปกรณ์รับ/ส่ง ติดตั้งตรงกันหรือไม่ ไม่ควรต่างกันเกิน +- 3
  • Noise Floor   คือ ค่าสัญญาณรบกวนจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น กระแสไฟฟ้า ค่านี้ยิ่งน้อยยิ่งดี (ค่านี้ต้องเข้าใกล้ -100%)
  • Transmit CCQ คือ  ค่าคุณภาพการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ฝั่ง Client (ค่านี้ต้องเข้าใกล้ 100%)
  • AirMax Quality คือ ค่าคุณภาพการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ฝั่งต้นทางและปลายทาง (ค่านี้ต้องเข้าใกล้ 100%)
  • AirMax Capacity คือ ค่าคุณภาพของ Throughput (ค่านี้ต้องเข้าใกล้ 100%)
 
AP Information : ข้อมูล Access Point ที่ Connect
 
อุปกรณ์ฝั่งต้นทาง
 
1. เลือก Tab >> Main ถ้าการตั้งค่าอุปกรณ์ไม่ผิดพลาดจะแสดงค่าตามรูปภาพครับ
Point To Point Mode
 
จุดตรวจสอบมีดังนี้
 
Wireless Mode : Access Point WDS
กราฟแสดงสถานะและรายละเอียดการเชื่อมต่อ : โดยค่าแต่ละค่ามีความหมายดังนี้
  • Connection  คือ จำนวน Client ที่ Connect
  • Noise Floor   คือ ค่าสัญญาณรบกวนจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น กระแสไฟฟ้า ค่านี้ยิ่งน้อยยิ่งดี (ค่านี้ต้องเข้าใกล้ -100%)
  • Transmit CCQ คือ  ค่าคุณภาพการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ฝั่ง Client (ค่านี้ต้องเข้าใกล้ 100%)
  • airMax : คือ การใช้งานฟังก์ชั่น airMAX
  • AirMax Quality คือ ค่าคุณภาพการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ฝั่งต้นทางและปลายทาง (ค่านี้ต้องเข้าใกล้ 100%)
  • AirMax Capacity คือ ค่าคุณภาพของ Throughput (ค่านี้ต้องเข้าใกล้ 100%)
Station : ข้อมูล Client ที่ Connect
 
ทดสอบการใช้งาน
 
1.ติดตั้งอุปกรณ์ตามรูปนี้ครับ
Point To Point Mode
 
2. ตั้งค่า IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็น “Obtain an IP address automatically” ตามรูปภาพ
Point To Point Mode
 
3.ตรวจสอบว่าได้รับการแจก IP Address หรือไม่ โดยเลือกเมนู Start >> run
Point To Point Mode
 
4. พิมพ์คำสั่ง cmd และกดปุ่ม Enter
Point To Point Mode
 
5.พิมพ์คำสั่ง “ipconfig” และกดปุ่ม Enter ถ้าไม่ผิดพลาดก็จะได้ค่าตามรูปภาพนึ้ครับ ตามตัวอย่าง จะได้ IP Address : 192.168.1.12
Point To Point Mode
 
6. ทดสอบเข้าใช้งาน WebSite : www.taladwireless.com